อัลกุรอาน » ไทย » สูเราะฮฺ อัต-ตะกาษุร

Choose the reader


ไทย

สูเราะฮฺ อัต-ตะกาษุร - จำนวนข้อ 8
أَلْهَاكُمُ التَّكَاثُرُ ( 1 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 1
การสะสมทรัพย์สมบัติเพื่ออวดอ้างได้ทำให้พวกเจ้าเพลิดเพลิน
حَتَّىٰ زُرْتُمُ الْمَقَابِرَ ( 2 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 2
จนกระทั่งพวกเจ้าได้เข้าไปเยือนหลุมฝังศพ
كَلَّا سَوْفَ تَعْلَمُونَ ( 3 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 3
เปล่าเลย พวกเจ้าจะได้รู้
ثُمَّ كَلَّا سَوْفَ تَعْلَمُونَ ( 4 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 4
แล้วก็เปล่าเลย พวกเจ้าจะได้รู้
كَلَّا لَوْ تَعْلَمُونَ عِلْمَ الْيَقِينِ ( 5 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 5
มิใช่เช่นนั้น ถ้าพวกเจ้าได้รู้อย่างแท้จริงแล้ว
لَتَرَوُنَّ الْجَحِيمَ ( 6 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 6
แน่นอน พวกเจ้าจะเห็นไฟที่ลุกโชน
ثُمَّ لَتَرَوُنَّهَا عَيْنَ الْيَقِينِ ( 7 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 7
แล้วแน่นอนพวกเจ้าจะได้เห็นมัน ด้วยสายตาที่แน่ชัด
ثُمَّ لَتُسْأَلُنَّ يَوْمَئِذٍ عَنِ النَّعِيمِ ( 8 ) อัต-ตะกาษุร - Ayaa 8
แล้วในวันนั้นพวกเจ้าจะถูกสอบถามเกี่ยวกับความโปรดปรานที่ได้รับ (ในโลกดุนยา)

หนังสือ

  • บัญญัติต่างๆ ว่าด้วยอุฎหิยะฮฺ (การกุรบ่าน)เป็นหนังสือที่เรียบเรียงขึ้นเฉพาะเพื่ออธิบายรายละเอียดต่างๆ ของการทำอุฎหิยะฮฺหรือการเชือดกุรบ่าน โดยระบุหลักฐานต่างๆ จากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ พร้อมคำอธิบายและความเห็นจากอุละมาอ์ในมัซฮับทั้งสี่

    ผู้แต่ง : อุษมาน อิดรีส

    ผู้ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน

    ผยแพร่โดย : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด - ห้องสมุดอิกเราะอ์ - อิกเราะอ์ฟอรั่ม www.iqraForum.com

    Source : http://www.islamhouse.com/p/252122

    Download :บัญญัติต่างๆ ว่าด้วยอุฎหิยะฮฺ (การกุรบ่าน)

  • ถามให้คิด...สะกิดใจ"ถามให้คิด...สะกิดใจ สูเจ้าใคร่ครวญดูแล้วหรือยัง?" คำถามเกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา ... โดย ชารีฟ วงศ์เสงี่ยม.

    ผู้ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน

    ผยแพร่โดย : www.mureed.com

    Source : http://www.islamhouse.com/p/48381

    Download :ถามให้คิด...สะกิดใจ

  • ท่านถาม อัลกุรอานตอบสารฉบับเล็กๆ ที่ผู้เขียนได้ตอบคำถามและข้อสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับอิสลามเช่น ใครคือผู้สร้าง? อัลลอฮฺคือใคร? อัลลอฮฺ สร้างมนุษย์เพื่ออะไร? อัลลอฮฺ ทรงบัญชาให้เราทำอะไร? เราจะค้นหาทางนำจากไหน? อัลลอฮฺหรือที่ทรงปกปักษ์รักษาอัลกุรอานจากการฉ้อฉล? เราจำเป็นต้องเคารพภักดีต่อใคร? ศาสนาของอัลลอฮฺ คือศาสนาอะไร? ศาสนาอะไรที่อัลลอฮฺยอมรับ? อัลกุรอานมาจากไหน? อัลลอฮฺ ส่งศาสนทูตมาทำไม? เราต้องศรัทธาในศาสนทูตทุกคนไหม? เกิดอะไรขึ้นกับคัมภีร์ต่างๆ ในยุคแรก?

    ผู้แต่ง : มุหัมมัด อิบนุ ยะห์ยา อัต-ตูม

    ผู้ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน

    ผู้แปล : มูฮัมหมัด อิบราฮิม

    ผยแพร่โดย : สำนักงานเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด

    Source : http://www.islamhouse.com/p/192798

    Download :ท่านถาม อัลกุรอานตอบท่านถาม อัลกุรอานตอบ

  • บทสนทนาอันสงบ ระหว่างอับดุลลอฮฺและอับดุนนบีชายผู้หนึ่งชื่อ อับดุลลอฮฺ ได้พบกับชายอีกคนชื่อ อับดุนนบี เมื่ออับดุลลอฮฺได้ฟังชื่อนี้แล้วเกิดการปฏิเสธขึ้นในใจของเขา แล้วเขาก็คิดขึ้นมาว่า คนๆ หนึ่งจะกระทำอิบาดะฮฺต่อสิ่งอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺได้อย่างไรกัน แล้วเขาก็พูดกับอับดุนนบีขึ้นมาว่า : ท่านทำอิบาดฮะต่อสิ่งอื่นนอกจากอัลลอฮฺหรือ ? ... บทสนทนาว่าด้วยอิบาดะฮฺ, ชิริก, ตะวัสสุล, ตะบัรรุก, การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ, การปฏิบัติตามรอซูล ... ฯลฯ และประเด็นอื่นๆ เกี่ยวกับความเชื่อของมุสลิมที่สำคัญและอาจจะไม่เป็นที่เข้าใจของมุสลิมอีกหลายๆ คน (อัพเดทล่าสุด 20/4/2010)

    ผู้ตรวจทาน : ซุฟอัม อุษมาน

    ผู้แปล : รุสดี การีสา

    ผยแพร่โดย : สนง. ความร่วมมือเพื่อเผยแพร่และสอนอิสลาม เมืองอุตสาหกรรมเก่า กรุงริยาด

    Source : http://www.islamhouse.com/p/264437

    Download :บทสนทนาอันสงบ ระหว่างอับดุลลอฮฺและอับดุนนบีบทสนทนาอันสงบ ระหว่างอับดุลลอฮฺและอับดุนนบี

  • สารหัจญ์มับรูร อุมเราะฮฺ และซิยาเราะฮฺหนังสือที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบพิธีหัจญ์ อุมเราะฮฺ และการเยี่ยมเยียนมัสยิดนะบะวีย์ ด้วยเนื้อหาที่ครอบคลุมทุกขั้นตอน โดยอาศัยหลักฐานจากอัลกุรอานและสุนนะฮฺ ผ่านการอธิบายของอุละมาอ์และนักวิชาการอิสลาม เหมาะอย่างยิ่งที่จะใช้เป็นคู่มือสำหรับผู้ทำหัจญ์ในช่วงพิธีหัจญ์ หรือผู้ที่ประสงค์จะทำอิบาดะฮฺอุมเราะฮฺและซิยาเราะฮฺตลอดทั้งปี สารเล่มนี้เรียบเรียงโดย ดร.อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา อมีรุลหัจญ์ไทยปี ฮ.ศ. 1430

    ผู้แต่ง : อิสมาอีล ลุตฟี จะปะกียา

    ผู้ตรวจทาน : อุษมาน อิดรีส

    ผู้แปล : ซุฟอัม อุษมาน - อิสมาน จารง - อัสรัน นิยมเดชา

    Source : http://www.islamhouse.com/p/250937

    Download :สารหัจญ์มับรูร อุมเราะฮฺ และซิยาเราะฮฺ

Choose language

Choose สูเราะฮฺ

หนังสือ

Choose tafseer

Participate

Bookmark and Share